สถาบันจีน-ไทยแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับเชิญจากกระทรวงการต่างประเทศ นำนักศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องจำนวน 50 คน เข้าร่วมงานเปิดตัวตราสัญลักษณ์ เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทยและจีน ที่พัฒนามาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน ในวาระครบรอบ 50 ปี ครั้งนี้ นับเป็นโอกาสอันดีที่ทั้งสองฝ่ายจะได้ร่วมมือกันมากขึ้น เพราะสร้างความสัมพันธ์ให้ปีครอบรอบนี้เป็นปีทองแห่งมิตรภาพไทยและจีน มุ่งไปสู่การสร้างประชาคมที่มีอนาคตร่วมกัน สร้างความมั่งคั่ง ยั่งยืน ณ ไอคอนสยาม
การศึกษา
ว.นานาชาติ ม.รังสิต จัดสัมมนาวิชาชีพด้านนิเทศศาสตร์
สาขาวิชานิเทศศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต จัดสัมมนาวิชาชีพด้านนิเทศศาสตร์ หัวข้อ “Breaking Barriers: How LGBTQ+ Voices Promote Diversity and Inclusion Through Media” ในวันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน 2567 เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป
ม.รังสิต ร่วมนำเสนอผลงานวิชาการนานาชาติด้าน ICT ที่ประเทศญี่ปุ่น
มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมการนำเสนอผลงานวิชาการระดับนานาชาติ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในงาน The 8th International Conference on Information Technology 2024 (8th# InCIT 2024) เวทีที่รวมนักวิชาการจากทั่วโลกมาร่วมนำเสนอผลงานวิจัย และนวัตกรรมใหม่ๆ ที่จะสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาโลกด้วยเทคโนโยลี นอกจากนี้ ยังเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระดับนานาชาติ ระหว่างประเทศไทย และประเทศญี่ปุ่น นำทีมโดย
ม.วลัยลักษณ์ MOU 6 โรงเรียนดัง ร่วมพัฒนาคุณภาพการศึกษา เตรียมพร้อมเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย
ม.วลัยลักษณ์ (มวล.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ 6 โรงเรียนดังในจังหวัดนครศรีธรรมราชและสุราษฎร์ธานี พัฒนาคุณภาพการศึกษา แลกเปลี่ยนทางวิชาการและการวิจัย ส่งเสริมศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาและเตรียมความพร้อมให้นักเรียนเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ อธิการบดีม.วลัยลักษณ์ ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับนายชาญชัย ชื่นพระแสง ผู้อำนวยการโรงเรียนเทพมิตรศึกษา นางสาวศรีเวียง อาภรณ์รัตน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนธิดาแม่พระ นายสิทธิพร นิลพัฒน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา นางสาวโสภา ไสวศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้
“วิจัยนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์” สุดล้ำจาก มทร.ธัญบุรีกวาด 5 รางวัลใหญ่ระดับโลก เวที Innoweek2024 อุซเบกิสถาน
มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อระดับโลกอีกครั้ง คว้า 5 รางวัลจากเวที “International Week of Innovative Ideas-Innoweek 2024” ที่กรุงทาชเคนต์ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน โดยมีผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม กว่า 500 ผลงานทั่วโลกเข้าร่วม รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กล่าวว่า
โรงเรียน The Newton Sixth Form Schoolคว้าแชมป์นักออกแบบอนาคต แข่งขันวิชาการปี 67 ม.รังสิต
เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยรังสิตจัดการแข่งขันวิชาการภายใต้ชื่องาน “รังสิตวิชาการ ‘67” รังสิตวิชาการ ’67 ม.รังสิต เปิดพื้นที่โชว์ความสามารถเด็ก Gen Z และผลงานนวัตกรรมสื่อการเรียนการสอน เวทีนำเสนอแนวคิดนักออกแบบรุ่นใหม่โดยนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาเวทีการแข่งขันวิชาการ (RSU Academic Competition) มีการนำเสนอหมุดหมายชี้นำสังคมแห่งอนาคตที่น่าสนใจ 6 ด้าน ได้แก่ อนาคตด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Future of Health
ม.รังสิต จัดประกวดนวัตกรรมการเรียนการสอนครูมัธยมฯ
ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมเป็นประธานเปิดงานการประกวดผลงานด้านนวัตกรรมการเรียนการสอน (RSU Academic Conference) ในงาน “รังสิตวิชาการ’ 67” ซึ่งจัดขึ้น ณ อาคาร Student Center มหาวิทยาลัยรังสิต โดยปี 2567 นี้ คุณครู ผู้บริหารการศึกษาจากโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศให้ความสนใจส่งผลงาน
ม.รังสิต จัดมหกรรมญี่ปุ่นรังสิต ครั้งที่ 14
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต จัดมหกรรมญี่ปุ่นรังสิต ครั้งที่ 14 ในวันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม 1-301 ชั้น 3 อาคารอาทิตย์ อุไรรัตน์ (อาคาร 1)
ม.รังสิต ร่วมสืบสานการทำกระทงจากกะลา เพื่ออนุรักษ์สิ่งเเวดล้อม
ประเพณีลอยกระทง ถือเป็นประเพณีที่สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญา วิถีชีวิตและวัฒนธรรมไทยอันงดงาม สืบสานกันมาอย่างยาวนาน โดยรัฐบาลมีนโยบายให้ความสำคัญกับการส่งเสริม Soft power ของประเทศอย่างต่อเนื่อง มีเป้าหมายขับเคลื่อนโครงการ แผนงาน และมาตรการต่าง ๆ ที่มีผลกระทบสูง ผ่านคอนเทนต์ ๑๑ อุตสาหกรรม ได้แก่ อาหาร กีฬา เฟสติวัล ท่องเที่ยว ดนตรี หนังสือ ภาพยนตร์
บริษัทก่อสร้างชั้นนำ หนุน ม.วลัยลักษณ์ เอ็มโอยูพัฒนางานวิจัยในอุตสาหกรรมก่อสร้าง
2 บริษัทก่อสร้างชั้นนำของประเทศ ร่วมกับ ม.วลัยลักษณ์ เซ็นเอ็มโอยูพร้อมมอบทุนกว่า 1 ล้านบาท หนุนงานวิจัยวัสดุแท่งคอมโพสิตและคอนกรีตรีไซเคิล เพื่อช่วยยกระดับอุตสาหกรรมการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2567 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุรักษ์ ถุงทอง ผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พร้อมด้วย นายพิสิษฐ์ จรัสพงศ์ถาวร กรรมการบริหาร บริษัท จีเอฟอาร์พี